ข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าฯส่งเสด็จพระองค์ สู่สวรรคาลัย ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
ขอน้อมเกล้าฯ ถวายอาลัยส่งดวงพระวิญญาณพระองค์ เสด็จฯสู่สวรรคาลัย ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
16 Comments
You must be logged in to post a comment.
ข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าฯส่งเสด็จพระองค์ สู่สวรรคาลัย ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับนโยบายความเป็นส่วนตัว และการใช้คุกกี้ของเราคลิก
คุกกี้เหล่านี้มีความสำคัญต่อการให้บริการบนเว็บไซต์แก่คุณ และเพื่อให้คุณสามารถใช้คุณลักษณะบางอย่างได้ คุกกี้เหล่านี้ช่วยในการยืนยันตัวบุคคลของผู้ใช้งานและช่วยป้องกันการปลอมแปลงบัญชีผู้ใช้งาน หากไม่มีคุกกี้เหล่านี้เราอาจไม่สามารถให้บริการแก่คุณได้ เราใช้คุกกี้ดังกล่าวนี้เพื่อให้บริการแก่คุณ
แม้ว่าอาจเกิดคุกกี้ แต่อาจไม่สามารถบันทึกได้เนื่องจากมีสมุดบันทึกที่คุณสามารถอัปเดตได้เว็บไซต์นี้อาจมีคุกกี้หรืออาจเกิดคุกกี้ใหม่อีกครั้ง
ดูข้อมูลเพิ่มเติมคลิก
ขอน้อมเกล้าฯถวายอาลัยส่งดวงพระวิญญาณพระองค์
เสด็จฯสู่สวรรคาลัย
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
ขอแก้ไขหัวข้อตามนะครับ
…………..เสียใจครับ เป็นเหตุการณ์ที่รู้ว่าจะต้องเกิด แต่ก็ทำใจไม่ได้ครับ รักพ่อหลวงครับ
ขอแสดงความเสียใจ อย่างสุดซึ้ง ครับ
น้อมส่งเสด็จ
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศ รามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามมินทราธิราช บรมนาถบพิธ
สู่สวรรคาลัย ข้าพเจ้าร่ำไห้ หฤทัยจะแดนดิน สูญหายมลายสิ้น โศกาและอาดูร
ขอน้อมเกล้าฯส่งเสด็จพระองค์ สู่สวรรคาลัย ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
ข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าฯส่งเสด็จพระองค์ สู่สวรรคาลัย ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
ข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าฯส่งเสด็จพระองค์ สู่สวรรคาลัย ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
รักในหลวงที่สุด
ข้าพพระพุทธเจ้า ขอน้อมส่งเสด็จสู่สวรรคาลัย
ด้วยกล้าวด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
ขอน้อมเกล้าฯถวายอาลัยส่งดวงพระวิญญาณพระองค์ เสด็จฯสู่สวรรคาลัย
ลูกขอเป็นข้ารองบาททุกชาติไป รักพ่อครับ
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพพระพุทธเจ้านายชุติพนธ์ ชูตระกูล และครองครัวชูตระกูล King of Thailand
จะรักพ่อ ตลอดจนสิ้นลมหายใจ..
ถ้าทราบกันแล้วขออภัยนะครับ พอดีผมพึ่งได้เห็นหนังสือฉบับนี้
ข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าฯส่งเสด็จพระองค์ สู่สวรรคาลัย
ข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าฯส่งเสด็จพระองค์ สู่สวรรคาลัย
ราชบัณฑิตยสภา ตอบข้อสงสัย การใช้คำ “สวรรคาลัย” หมายถึงตาย ตามพจนานุกรม ชี้ ความหมาย “เสด็จไปสู่สวรรค” เป็นการแปลตรงตัว แนะให้ใช้ “เสด็จสู่สวรรคาลัย” ไม่ต้อง มี “ส่งเสด็จ” นำหน้า
วันนี้ (14 ต.ค.) เฟซบุ๊กเพจ “ราชบัณฑิตยสภา” ได้โพสต์รูปภาพและข้อความตอบข้อสงสัยของประชาชน 2 เรื่อง คือ ราชาศัพท์ “สวรรคต” และการใช้วลี “เสด็จสู่สวรรคาลัย” โดย กรณีราชาศัพท์ “สวรรคต” สำนักงานราชบัณฑิตยสภาตอบข้อสงสัยว่า การใช้คำราชาศัพท์ของคำว่า “ตาย” คณะกรรมการจัดทำหลักเกณฑ์การใช้คำราชาศัพท์ของสำนักงานราชบัณฑิตยสภาได้จัดทำไว้ ดังนี้
สวรรคต, เสด็จสวรรคต (สะ-หวัน-คต), (สะ-เด็ด-สะ-หวัน-คต) ใช้แก่ พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร พระบรมวงศ์ชั้นเจ้าฟ้าที่ทรงพระเศวตฉัตร 7 ชั้น
สำหรับการใช้วลี “เสด็จสู่สวรรคาลัย” สำนักงานราชบัณฑิตยสภาตอบข้อสงสัยว่า ควรต้องมีคำว่า “ส่งเสด็จ” ด้วยหรือไม่ ในเรื่องนี้ สำนักงานราชบัณฑิตยสภาได้เคยให้ข้อมูลความหมายวลีดังกล่าวเมื่อครั้งสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สิ้นพระชนม์ว่า
คำว่า “สวรรคาลัย” มีความหมายตาม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑตยสถาน พ.ศ. 2542 (ปัจจุบันใช้ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554) คือ เป็นคำกิริยา หมายความว่า ตาย (ใช้แก่เจ้านายชั้นสูง) ซึ่งไม่ได้หมายถึงการส่งเสด็จไปสู่สวรรค์ ทำให้การใช้คำว่า สวรรคาลัย เป็นการสื่อความหมายไม่ถูกต้องนั้นเป็นความเข้าใจที่เกิดจากการแปลตรงตามรูปศัพท์
โดยแท้จริงแล้วคำว่า “สวรรคาลัย” มาจากคำว่า “สวรรค” (สะ-หวัน-คะ) และ “อาลัย” ซึ่งคำว่า “สวรรค, สวรรค์” เป็นคำนาม หมายถึง โลกของเทวดา, เมืองฟ้า คำว่า “อาลัย” เป็นคำนาม มีความหมายว่าที่อยู่ ที่พัก ดังนั้น วลี “สู่สวรรคาลัย” จึงหมายถึง สู่ที่อยู่ในสวรรค์ สู่ที่พักในสวรรค์ ความหมายรวม ๆ ก็คือ สู่สวรรค์ วลี “เสด็จไปสู่สวรรคาลัย” จึงสื่อความหมายได้ว่า (พระองค์) เสด็จสู่สวรรค์ หรือ (พระองค์) เสด็จสู่สรวงสวรรค์
อย่างไรก็ตาม ในความเข้าใจของประชาชนทั่วไปนั้นเข้าใจว่า “ส่งเสด็จสู่สวรรคาลัย” หมายถึงส่งเสด็จ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ไปสู่สรวงสวรรค์ แต่คำถามมีอยู่ว่า ใช้ได้หรือไม่
ในเรื่องนี้ได้มีการสอบถามความคิดเห็นของ พลตรี หม่อมราชวงศ์ ศุภวัฒย์ เกษมศรี ประธานคณะกรรมการจัดทำหลักเกณฑ์การใช้ราชาศัพท์แห่งราชบัณฑิตยสถาน ศาสตราจารย์พิเศษ จำนงค์ ทองประเสริฐ ราชบัณฑิต และที่ปรึกษาคณะกรรมการ และ อาจารย์จุลทัศน์ พยาฆรานนท์ รองประธานคณะกรรมการ มีความเห็นพ้องกันว่า พระองค์ทรงมีบุญญาบารมีที่จะเสด็จไปสู่สรวงสวรรค์ด้วยพระองค์เอง
ทั้งนี้ หากใช้คำว่า “ส่งเสด็จ” นำหน้าวลี “สู่สวรรคาลัย” อาจทำให้สื่อความหมายได้ว่าประชาชนเป็นผู้ส่งเสด็จพระองค์ไปสู่สรวงสวรรค์
ดังนั้น หากลดหรือละการใช้คำว่า “ส่ง” ออกไปเหลือ “เสด็จสู่สวรรคาลัย” หรือใช้คำว่า “พระผู้เสด็จสู่สวรรคาลัย” ก็จะทำให้ถ้อยคำดูสวยงามและสื่อความหมายได้ชัดเจนกว่าคำว่า “ส่งเสด็จสู่สวรรคาลัย”
ปล. ขอโทษด้วยนะครับแต่อยากให้เข้าใจตรงกัน